กำเนิดฉะเซ็น

ในสมัยก่อน ประเทศญี่ปุ่นแบ่งการปกครองเป็นหัวเมืองเล็กหัวเมืองน้อย และราวๆศตวรรษที่ 16 บริเวณเมืองทะคะยะมะ จังหวัดนาราในปัจจุบัน เคยเป็นหัวเมืองเล็กๆชื่อว่ายะมะโตะ ถูกปกครองโดยเจ้าเมืองชื่อ ไดเซ็น ไคโยริซะกะ

คะซึโฮะ (数穂 – ชิน (真)

ฉะเซ็นบางรุ่น จะเป็นการเปลี่ยนรูป (変形) หรือวิวัฒนาการมาจากฉะเซ็นอีกรุ่นครับ อย่างเช่นในรูป ทางด้านซ้ายคือฉะเซ็นรุ่นคะซึโฮะ (数穂) เป็นรุ่นพื้นฐานที่มีจำนวนซี่ 80 ซี่ เป็นฉะเซ็นรุ่นที่ให้กำเนิดรุ่นชิน (真) ที่อยู่ทางขวามือ โดยปัจจุบันนั้น ฉะเซ็นสองรุ่นนี้เป็นรุ่นที่เห็นได้ง่ายที่สุด

ข้อห้ามสำหรับช้อนไม้ไผ่

ฉะชะขุ หรือช้อนไม้ไผ่ มีข้อห้ามที่สำคัญข้อหนึ่ง คือ หลังจากใช้ตักมัทฉะแล้ว “ห้ามล้าง” หรือ “ห้ามโดนน้ำ” เด็ดขาด!!!!

เทคนิคการผลิต “ฉะเซ็น” (茶筅: Chasen)

เทคนิคการผลิต “ฉะเซ็น” (茶筅: Chasen) เป็นเทคนิคที่สืบทอดจากพ่อสู่ลูก เป็นเทคนิคที่มีประวัติยาวนานกว่า 500 ปี โดยช่างฝีมือที่ผลิตฉะเซ็นในปัจจุบัน ก็เป็นลูกหลานของช่างฝีมือที่ผลิตฉะเซ็นเมื่อ 500 ปีก่อน