ว่าด้วยเรื่องของฉะเซ็น…ตอนที่ 3 วิธีเก็บรักษาฉะเซ็น

ฉะเซ็นทำจากไม้ไผ่ ก่อนใช้ควรนำมาจุ่มในน้ำอุ่น เสมือนเป็นการอุ่นเครื่องฉะเซ็น ก่อนนำไปตีมัทฉะ …และหลังจากใช้เสร็จ ก็ควรล้างฉะเซ็นด้วยน้ำสะอาดเบาๆ ให้ชาหลุด แล้วปล่อยให้แห้งตามธรรมชาติในที่โล่ง อากาศถ่ายเท เพราะไม่อย่างนั้นแล้วอาจเกิดการขึ้นราได้

พืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Camellia sinensis

ต้นชา คือพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Camellia sinensis สามารถแบ่งออกได้เป็นสองสายพันธุ์ คือ ชาจีน (Camellia sinensis var. sinensis) และชาอัสสัม (Camellia sinensis var. assamica)

ว่าด้วยเรื่องของฉะเซ็น…ตอนที่ 1 รู้จักกับฉะเซ็น

“ฉะเซ็น” (茶筅: Chasen) หรือ “แปรงตีชา” เป็นอุปกรณ์ที่ขาดไม่ได้เลย ในพิธีชงชาญี่ปุ่น ฉะเซ็นทำมาจากไม้ไผ่ นำมาผ่าแล้วฝานออกเป็นซี่ๆ เป็นงานฝีมือที่ผู้ประดิษฐ์ต้องใช้ความละเอียดและความชำนาญสูง

ว่าด้วยเรื่องของฉะเซ็น…ตอนที่ 2 จำนวนซี่ของฉะเซ็น

โครงสร้างของ “ฉะเซ็น” (茶筅: Chasen) คือท่อนไม้ไผ่ที่ด้านหนึ่งทำหน้าที่เป็นด้ามจับ ส่วนอีกด้านหนึ่งถูกผ่าและซอยออกเป็นซี่เล็กๆ เอาไว้สำหรับใช้ชงชามัทฉะ

ขนมอะไรเหมาะสำหรับทานกับมัทฉะมากที่สุด??!

.”มัทฉะ” (抹茶: Matcha) คือผงชาที่เกิดจากการนำใบชาเขียวเกียวขุโระ(ใบชาที่ได้รับการดูแลอย่างดีที่สุด)มาโม่ให้ละเอียดด้วยครกหิน คุณลักษณะพิเศษของมัทฉะคือมีรสชาติที่เข้มข้น ทำให้ขนมที่เหมาะสำหรับรับประทานกับมัทฉะนั้น

“เกียวขุโระ” ชาที่ดีที่สุดของญี่ปุ่น

เกียวขุโระ (玉露: Gyokuro) ถือเป็นชาที่ดีที่สุด ในหมวดหมู่ชาเขียว เพราะต้องผ่านการประคบประหงมด้วยขั้นตอนยุ่งยากมากมาย กว่าจะได้ใบชามาชงเสิร์ฟเป็นชาร้อนๆ

“เทนฉะ” ต้นกำเนิดของ “มัทฉะ”

คราวก่อนเรารู้จักกับ “ชาเกียวขุโระ” หรือ “เกียวขุโระฉะ” กันไปแล้ว (ในภาษาญี่ปุ่น คำว่า ชา ออกเสียงว่า ฉะ) คราวนี้ผมจะพาเราไปรู้จักกับ “เทนฉะ” กันครับ

ว่าด้วยชาอุจิ 宇治茶に関してต้นกำเนิด ชาเขียว มัทฉะ

หลายสัปดาห์ก่อนสัญญาไว้ว่าจะนำเรื่องราวเกี่ยวกับชาอุจิมาเขียนให้ได้อ่านกัน หลังจากสะสางธุระปะปังรวมทั้งงานหลายอย่าง วันนี้มีเวลาว่างมาเขียนให้ได้อ่านกันแล้วครับ อาจจะยาวไปสักนิดหนึ่ง หากไม่มีเวลาอ่านตอนนี้ แชร์ไว้อ่านวันหลังกันก็ได้ครับ
.

Wuyi Jin Jun Mei 武夷金骏眉

ชาจากอู่อี๋ซานกำลังทยอยเดินทางมาถึงครับ ตัวแรกนี้เป็นจินจวิ้นเหมย ช่วงก่อนปีใหม่ผมเขียนบทความเรื่องเกาซานจินจวิ้นเหมย 高山金骏眉 กับผิงตี้จินจวิ้นเหมยไป 平地金骏眉 โดยอ้างอิงจากหนังสือของเจิ้งซานถาง 正山堂 ผู้ผลิตจินจวิ้นเหมยเป็นเจ้าแรก

สวัสดีครับ ผมชื่อ “โกะโค” 五香 มาจากเกียวโตครับ 🌱🌱🍵

ใกล้ๆกับอำเภออุจิ จังหวัดเกียวโต ห่างไปสัก 2-3 กิโลเมตร คืออำเภอเคียวตะนะเบะ เป็นแหล่งปลูกเกียวขุโระชั้นดี ที่นี่จะเด็ดยอดต้นชาด้วยมือเท่านั้น จากนั้นจึงนำไปทำเป็นชาแห้งโดยใช้เครื่องจักร ที่มีมนุษย์ควบคุมอยู่ทุกขั้นตอน