คะมิโคจิ (上高地: Kamikōchi)
คือแหล่งธรรมชาติอันสวยงามกลางหุบเขาในเมืองมัทสึโมโต้ จังหวัดนากาโน่ อยู่สูงจากระดับน้ำทะเล 1,500 เมตร ถูกจัดให้เป็นสมบัติของชาติของประเทศญี่ปุ่น แต่ละปีมีผู้มาเยือนและพักผ่อนที่คะมิโคจิราว 1.5 ล้านคน
คือแหล่งธรรมชาติอันสวยงามกลางหุบเขาในเมืองมัทสึโมโต้ จังหวัดนากาโน่ อยู่สูงจากระดับน้ำทะเล 1,500 เมตร ถูกจัดให้เป็นสมบัติของชาติของประเทศญี่ปุ่น แต่ละปีมีผู้มาเยือนและพักผ่อนที่คะมิโคจิราว 1.5 ล้านคน
….เอกลักษณ์ของชาญี่ปุ่นนั้น จะมีการให้ความสำคัญกับ รสชาติ มากกว่า กลิ่น ดังนั้นการดึงรสชาติของชา ไม่ว่าจะเป็นรสขม หวาน หรือกลมกล่อม ล้วนเป็นหัวใจสำคัญของการผลิตชาญี่ปุ่น
เรื่องราวเกี่ยวกับชาในประเทศไทย จากหนังสือ The French Art of Tea
ประตูทางเข้าบ้าน “คนนิจิอัง” (今日庵: Konnichi-an) ของสำนักชงชา “อุระเซนเกะ” (裏千家: Urasenke)
ถึงแม้ว่าปัจจุบัน ชาดำ(ชาฝรั่ง)จะเป็นชาที่ชาวตะวันตกส่วนใหญ่นิยมดื่ม ทว่าในยุคเริ่มแรกที่พ่อค้าชาวดัตช์นำชาจากประเทศจีนติดเรือมุ่งหน้าเข้าสู่ยุโรปนั้น ชาในยุคนั้นยังเป็นชาเขียว กล่าวคือเป็นชาที่ไม่ผ่านการหมัก มีวิธีการผลิตคือ เมื่อเก็บใบชาแล้ว ใบชาจะถูกนำไปผึ่งบนแคร่ไม้ไผ่
ชาต้งติ่งอู่หลง (凍頂烏龍茶: Dòngdǐng Wūlóngchá) เป็นชาอู่หลงชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากของไต้หวัน ถูกจัดให้เป็นชาอู่หลงระดับพรีเมี่ยม มีสีและรสคล้ายชาเขียว แต่มีกลิ่นหอมสะอาดแบบกลิ่นของดอกไม้ ชวนให้รู้สึกผ่อนคลาย แรกเริ่มเดิมที ชาต้งติ่งได้ถูกนำมาปลูกจากมณฑลฝูเจี้ยน
ชาทิกวนอิมเป็นชาอู่หลงของจีนที่ค่อนข้างมีชื่อเสียง มีตำนานเล่าเกี่ยวกับที่มาของชื่อหลายตำนาน โดยตำนานแรกนั้นเล่าว่า…ในสมัยของจักรพรรดิเฉียนหลง มีชายคนหนึ่ง นามว่านาย “หวัง” ได้นัดแนะพบกันกับเพื่อนที่ตีนเขาพระโพธิสัตว์กวนอิมที่เมืองซีผิง มณฑลฝูเจี้ยน
สาเหตุเป็นเพราะว่า ชาอู่หลงนั้นรสชาติไม่ต่างจากชาเขียวญี่ปุ่นมาก และชาวญี่ปุ่นมีค่านิยมว่าอะไรที่สามารถผลิตเองได้ภายในประเทศ ก็จะไม่ซื้อให้เสียเงิน ในขณะเดียวกัน ชาวญี่ปุ่นไม่ผลิตชาดำ และชาดำก็มีรสชาติที่ต่างจากชาเขียวมาก ในกรณีของชาดำ จึงมีเหตุผลที่มีน้ำหนักมากพอที่ทำให้ชาวญี่ปุ่นยอมซื้อชาดำมาดื่มได้นั่นเอง
ในระยะเริ่มแรกที่ชาถูกนำเข้าไปขายยังยุโรปเมื่อราวๆ 400 กว่าปีก่อนนั้น ชาถือเป็นของสูง ที่คนมีเงินเท่านั้นที่สามารถซื้อหามาดื่มได้ แต่เมื่อเวลาผ่านไป ชาก็เริ่มแพร่หลายลงมาสู่กลุ่มชนชั้นกลาง ก่อให้เกิดการบริโภคชาในวงกว้างมากขึ้น แต่กระนั้นความต้องการชาก็ยังมีมากเสียจนหลายๆครั้ง
ที่เมืองจีนมีการกล่าวถึงชาขาวว่า “หนึ่งปีเป็นชา สามปีคือยา เจ็ดปีเป็นสมบัติล้ำค่า” 一年茶、三年药、七年宝 หมายถึงว่าชาขาวที่ยิ่งเก่าเก็บจะยิ่งมีมูลค่าสูง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะรสชาติที่เกิดการพัฒนาตัวระหว่างการเก็บ อีกส่วนหนึ่งเป็นเพราะคุณสมบัติทางยาที่ชาวจีนเชื่อว่าชาขาวเก่าเก็บ(และชา