ตามรอย ชาไทย บ้านแม่ขะจาน

การนำใบจากต้นเหมี้ยงมาผลิตเหมี้ยงนั้น จะใช้เฉพาะใบที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้วเท่านั้น(แต่ก็ยังไม่ใช่ใบแก่) ซึ่งเป็นใบหนาใหญ่ นำมามัดเป็นกำ จากนั้นนำไปนึ่ง แล้วหมักโดยใช้แบคทีเรียแลคติกให้เกิดรสเปรี้ยว

“เซน โนะ ริคิว” (千利休) ผู้พัฒนาพิธีชงชาญี่ปุ่น

สำนักชงชาของญี่ปุ่นในปัจจุบัน ส่วนใหญ่สืบทอดมาจากผู้ที่เป็นลูกหลาน หรือไม่ก็ลูกศิษย์ของเซน โนะ ริคิว จากอดีตแทบทั้งสิ้น โดยสำนักที่ดังที่สุด คือสำนักที่สืบทอดพิธีการชงชามาจากลูกหลานของเซน โนะ ริคิว โดยตรง สำนักที่ว่านี้ ถูกเรียกโดยรวมว่า “ซันเซนเกะ” (三千家)

” ครั้งหนึ่งในชีวิต ” ปรัชญาในการทุ่มเทของคนญี่ปุ่น

ที่ญี่ปุ่น…จะมีคำอยู่คำหนึ่ง เขียนด้วยตัวอักษรคันจิสี่ตัว ถือเป็นคำมงคลที่พบเห็นได้บ่อยในประเทศญี่ปุ่น คำๆนั้นคือคำว่า 一期一会 อ่านออกเสียงว่า ” อิจิโกะ อิจิเอะ ” แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า “Once in a Lifetime” หรือ “ครั้งหนึ่งในชีวิต”

ฉะชะขุ…สัญลักษณ์ของความเรียบง่าย

เอกลักษณ์ของช้อนไม้ไผ่ “ฉะชะขุ” คือความเรียบง่าย สังเกตได้จากรูปทรงที่ทำจากไม้ไผ่ที่มีความเรียว ยาว มีส่วนปลายด้านหนึ่งโค้งงอเข้ามา ทำหน้าที่เป็นช้อน ฉะชะขุเองก็เหมือนกับฉะเซ็น หรือแปรงตีชา ที่ได้รับอิทธิพลมาจากพุทธศาสนานิกายเซน อันเป็นแนวคิดที่ทรงอิทธิพลต่อศิลปะญี่ปุ่นเกือบทั้งมวล

Lapsang Souchong บรรพบุรุษของชา Earl Grey “

เมื่อ Earl Grey นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ได้รับชาแลปซาง ซูชองจากทูตจีนคนนึง ก็เกิดติดใจ จึงสั่งให้ร้านชาร้านหนึ่งพยายามเบลนด์ชาออกมาให้ได้รสและกลิ่นเหมือนชาดังกล่าว แต่เนื่องจากลำไยเป็นพืชที่หาได้ยากในตะวันตก

ขึ้นดอยเมาคง ไปดูชาเถี่ยกวนอินกันครับ

วันก่อน ผมกับปี้หลิง ลูกสาวคนโตของอาจารย์ฉือเย่าเหลียง (อาจารย์ตงฟางเหม่ยเหรินชื่อดังท่านนั้น) ขึ้นดอยเมาคงเพื่อไปดูชา เถี่ยกวนอิน กันครับ
ฝนตกทั้งวัน นั่งกระเช้าไฟฟ้าขึ้นดอย อยู่ท่ามกลางเมฆหมอก บางช่วงที่กระเช้าลอยห่างจากสันเขาไม่มาก ก็จะเห็นไร่ชาเถี่ยกวนอินไร่เล็กๆสลับกันอยู่เป็นที่ๆ

” ปรัชญาของชา “

ปรัชญาของชามิได้เป็นเพียงสุนทรียนิยมในแง่ของความหมายที่ยอมรับกันโดยดาษดื่น เพราะมันแสดงออกถึงมุมมองของเราทั้งหมดเกี่ยวกับมนุษย์และธรรมชาติอย่างสอดคล้องกันระหว่างจริยธรรมและศาสนา

เล่าเรื่องชา ที่อัสสัมกับอังกฤษ

ช่วงแรกๆที่อังกฤษเริ่มผลิต ชาที่อัสสัม เอง มีการทดลองใช้กระจกสีต่างๆในห้องหมักชา แต่ก็พบว่าสีของกระจกไม่มีผลต่อการหมัก ต่อมาจึงทดลองหมักชาไว้บนพื้นผิววัสดุต่างๆ เช่น ไม้ กระจก เหล็ก หญ้า พลาสติก อลูมิเนียม แต่พบว่าพื้นผิวที่ดีที่สุดคือหมักชาบนพื้นซีเมนต์ เพราะพื้นซีเมนต์มีความเย็น ทั้งยังดูดซึมความชื้น