วิถีแห่งชา

“ชาเริ่มสถานะจากการเป็นยาไปสู่การเป็นเครื่องดื่ม ที่เมืองจีน ในศตวรรษที่แปด ชาเข้าสู่อาณาจักรแห่งบทกวีจากการเป็นหนึ่งในมหรสพอันนอบน้อม ศตวรรษที่สิบห้าเป็นประจักษ์พยานแก่การยกสถานะของชาโดยญี่ปุ่นขึ้นสู่ลัทธิแห่งสุนทรียนิยม

ชา-ญี่ปุ่นในยุคแรกเริ่ม

สันนิษฐานกันว่าชาถูกนําเข้ามายังประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ต้นศตวรรษที่เก้า ในสมัยแรกเริ่มของยุคเฮอัน ผ่านทางพระญี่ปุ่นผู้เดินทางไปร่ําเรียนพระพุทธศาสนาที่ประเทศจีน

ปรัชญาแห่งชา

“…โดยความหมายทั่วไปแล้ว ปรัชญาแห่งชานั้นไม่ได้เป็นเพียงสุนทรีนิยม กล่าวคือ เป็นสิ่งที่อธิบายมุมมองของพวกเราต่อมนุษย์และธรรมชาติ ซึ่งประสานกันได้ดีกับจริยธรรมและศาสนา ดังที่ซะโดได้สอนถึงความสะอาดอย่างเคร่งครัดอันเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์

“ทะคะโฮะ” 高穂 ฉะเซ็นอันแรกบนโลก

“ทะคะโฮะ” 高穂 ฉะเซ็นอันแรกบนโลก

เมื่อวานผมไปเยี่ยมคุณคุโบะ ซะบุน (久保左文) ช่างฝีมือฉะเซ็น ที่จังหวัดนารา ประเทศญี่ปุ่น เลยได้ฟังเรื่องราวเกี่ยวกับฉะเซ็นเพิ่มเติมมากขึ้น ฉะเซ็นทางด้านขวามือในรูป มีชื่อว่า “ทะคะโฮะ” เขียนเป็นตัวคันจิได้ว่า 高穂 โดยตัว 高 นั้นแปลได้ว่าสูงส่ง

” เกียวโต ” เมืองหลวงของ ” มัทฉะ “

” เกียวโต ” เมืองหลวงของ ” มัทฉะ ”

ชาจากเกียวโต จะถูกเรียกว่า “ชาอุจิ” (宇治茶) เพราะปลูกในเมืองที่ชื่อว่า “เมืองอุจิ” (宇治市) ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆทางใต้ของจังหวัดเกียวโต ทั้งนี้ ภาพลักษณ์ของชาอุจิ

“ชาแดงฉีเหมิน” (Keemun)

“ชาแดงฉีเหมิน” (Keemun) คือชาจากประเทศจีน ตั้งชื่อตามเมืองฉีเหมิน มณฑลอันฮุย มีกลิ่นหอมดอกไม้ คล้ายกลิ่นกล้วยไม้ มีคุณสมบัติช่วยทำให้รู้สึกสดชื่น

ชื่อมงคลที่คนญี่ปุ่นนิยมนำมาตั้งเป็นชื่อ “ฉะชะขุ”

・徒然(สึเระซึเระ) แปลว่า “ว่างวาย”
・和やか(นาโกยะกะ) แปลว่า “อบอุ่น”
・聖(ฮิจิริ) แปลว่า “ศักดิ์สิทธิ์”
・無事(บุจิ) แปลว่า “นิรันดร์”