การเก็บรักษาฉะเซ็น (Chasen)

หลังจากใช้ฉะเซ็นเสร็จ ควรนำไปแกว่งในน้ำอุ่น แกว่งเฉพาะส่วนที่สัมผัสกับมัทฉะก็พอครับ ไม่ต้องเอาไปล้างน้ำทั้งอัน พอแกว่งเสร็จสักสองน้ำก็นำมาตั้งไว้ให้แห้ง ถ้าใครมีเซรามิกที่เอาไว้สำหรับพักฉะเซ็น ก็เอาไปเสียบไว้ รอให้แห้ง ก็ได้ครับ ที่พักฉะเซ็นนี้มีข้อดีคือ น้ำไม่ไหลเข้าส่วนที่เป็นที่จับ แล้วก็ช่วยรักษารูปทรงของฉะเซ็น

อ่านต่อ

ก่อนชงมัทฉะทุกครั้ง…ควร

ก่อนชงมัทฉะทุกครั้ง…ควร

1. เทน้ำร้อนลงในถ้วยชา
2. นำ “ฉะเซ็น” มาตีน้ำร้อนเบาๆ
3. เทน้ำร้อนทิ้ง แล้วเช็ดภายในถ้วยให้แห้งด้วยผ้าสะอาด

อ่านต่อ

ว่าด้วยเรื่องของฉะเซ็น…ตอนที่ 3 วิธีเก็บรักษาฉะเซ็น

ฉะเซ็นทำจากไม้ไผ่ ก่อนใช้ควรนำมาจุ่มในน้ำอุ่น เสมือนเป็นการอุ่นเครื่องฉะเซ็น ก่อนนำไปตีมัทฉะ …และหลังจากใช้เสร็จ ก็ควรล้างฉะเซ็นด้วยน้ำสะอาดเบาๆ ให้ชาหลุด แล้วปล่อยให้แห้งตามธรรมชาติในที่โล่ง อากาศถ่ายเท เพราะไม่อย่างนั้นแล้วอาจเกิดการขึ้นราได้

อ่านต่อ

ว่าด้วยเรื่องของฉะเซ็น…ตอนที่ 1 รู้จักกับฉะเซ็น

“ฉะเซ็น” (茶筅: Chasen) หรือ “แปรงตีชา” เป็นอุปกรณ์ที่ขาดไม่ได้เลย ในพิธีชงชาญี่ปุ่น ฉะเซ็นทำมาจากไม้ไผ่ นำมาผ่าแล้วฝานออกเป็นซี่ๆ เป็นงานฝีมือที่ผู้ประดิษฐ์ต้องใช้ความละเอียดและความชำนาญสูง

อ่านต่อ

ว่าด้วยเรื่องของฉะเซ็น…ตอนที่ 2 จำนวนซี่ของฉะเซ็น

โครงสร้างของ “ฉะเซ็น” (茶筅: Chasen) คือท่อนไม้ไผ่ที่ด้านหนึ่งทำหน้าที่เป็นด้ามจับ ส่วนอีกด้านหนึ่งถูกผ่าและซอยออกเป็นซี่เล็กๆ เอาไว้สำหรับใช้ชงชามัทฉะ

อ่านต่อ

ชาเบลนด์ Rising Sun 朝日

ในจำนวนชาหลากหลายตัวที่เบลนด์ออกมา บางตัวเกิดจากความผิดพลาดระหว่างการทดลองตอนคิดค้นสูตร ซึ่งพอนำมาลองจำหน่าย กลับกลายเป็นว่าผลตอบรับดีกว่าที่คิดไว้มาก

อ่านต่อ